Sunday, May 25, 2008
Practice of Tara in the Relative and Absolute
Synopsis for a Buddhist forum on 1 June 2008, 12.00-13.30 hrs., World Buddhist University, Benjasiri Park
“Practice of Tara in the Relative and Absolute”
Dr. Krisadawan Hongladarom
The Thousand Stars Foundation
The female Buddhist deity of compassion Tara has been an object of devotion and a living practice among practitioners of Tibetan Buddhism in Tibet and beyond. Her ten-syllable mantra is always on the lips of her devotees, no matter whether they are male or female, educated or uneducated. Her energy is evoked, particularly in this age when human beings are experiencing warfare, illnesses, natural disasters, conflicts and mental disturbances. The practice has grown so much that there are now a large number of retreat centers around the world devoted to her. Who is Tara? Is she an external reality or an abstract projection of our own mind? How can we understand Tara from the relative and absolute points of view? How can her practice clear away fears and negative emotions, prepare the practitioner’s mind for death, and lead towards ultimate realization? The talk will be devoted to providing answers to these questions from the perspective of a lay female practitioner of Vajrayana Buddhism within the Theravada context.
การบรรยายสำหรับการสนทนาเกี่ยวกับพระพุทธศาสนา ณ World Buddhist University สวนเบญจสิริ วันที่ 1 มิถุนายน 2551 เวลา 12.00-13.30 น. (บรรยายภาษาอังกฤษ)
"การปฏิบัติตาราในระดับสมมติและปรมัตถ์"
ดร. กฤษดาวรรณ หงศ์ลดารมภ์
มูลนิธิพันดารา
ตารา พระโพธิสัตว์แห่งความกรุณาทรงเป็นที่เคารพบูชาในหมู่ผู้ปฏิบัติธรรมในสายพุทธวัชรยาานทั้งในทิเบตและประเทศอื่นๆ ธารณีสิบพยางค์ของพระองค์มักได้ยินสวดกันเสมอในหมู่ผู้บูชาพระองค์ไม่ว่าพวกเขาจะเป็นชายหรือหญิง มีการศึกษาหรือไม่ก็ตาม พรของพระองค์ได้รับการเน้นเป็นพิเศษในยุคสมัยนี้ที่มนุษย์ประสบภัยพิบัติจากสงคราม โรคภัยไข้เจ็บ ภัยธรรมชาติ ความขัดแย้งและจิตที่สับสนเศร้าหมอง การปฏิบัติตาราได้รับความนิยมแพร่หลายจนทำให้มีศูนย์ปฏิบัติธรรมจำนวนมากทั่วโลกที่อุทิศให้พระองค์เป็นพิเศษ ตาราคือใคร ตาราคือความเป็นจริงภายนอก (ลักษณะเหมือนเทพ) หรือเป็นผลพวงที่เป็นนามธรรมซึ่งเกิดจากจิตของเราเอง เราจะเข้าใจตาราจากมุมมองสมมติและปรมัตถ์ได้อย่างไร การปฏิบัติตาราขจัดความกลัวและอารมณ์บ่อนทำลาย เตรียมผู้ปฏิบัติธรรมสำหรับความตายที่จะมาเยือนและนำไปสู่การเข้าถึงความรู้แจ้งในระดับสูงสุดอย่างไร การบรรยายนี้จะให้คำตอบต่อคำถามเหล่านี้จากมุมมองของผู้ปฏิบัติพุทธวัชรยานในบริบทเถรวาท
Subscribe to:
Post Comments (Atom)
No comments:
Post a Comment